2.1 ศึกษาปัญหาของระบบ
   จากการศึกษาปัญหาของระบบร้านขายหนังสือ พบว่า
     1. การบันทึกรายซื้อ-ขายลงในสมุดบันทึกต่าง ๆ ตามวิธี manual ทำให้การตรวจสอบเรียกดูรายการที่ได้บันทึกไว้แล้ว ได้อย่างล่าช้าและไม่สะดวก อาจจะทำให้ข้อมูลที่ได้ทำการบันทึกไว้สูญหายได้
     2. ในการใช้เครื่องคิดเลขช่วยคำนวณราคาหนังสืออาจจะมีการคำนวณราคาผิดพลาด
     3. ในการเรียกดูสรุปยอดจำนวนคงเหลือของหนังสือทำได้ล่าช้าและไม่สะดวกแก่การเรียกดูในแต่ละครั้ง
      4. การบันทึกรายซื้อ-ขายลงในสมุดบันทึกต่าง ๆ ตามวิธี manual ทำให้การเรียกดูรายการต่าง ๆ ย้อนหลัง ทำได้อย่างล่าช้าและไม่สะดวกในการเรียกดู
2.2 เสนอแนวทางการแก้ปัญหา
     แนวทางที่ 1 ซื้อโปรแกรมประยุกต์ "DBook โปรแกรมร้านขายหนังสือ" ช่วยในการแยกประเภทหนังสือ มีระบบการรับหนังสือ ระบบขายหนังสือ ทำรายงานภาษีซื้อ ภาษีขาย และสามารถออกรายงานต่าง ๆ ได้ตลอดเวลา
     แนวทางที่ 2 ทำการพัฒนาระบบขึ้นเองโดยเขียนพัฒนาระบบจาก โปรแกรม Microsoft Visual Basic 2005 และใช้ฐานข้อมูล Microsoft Office Access 2003 เพื่อช่วยในการคำนวณราคาหนังสือได้ถูกต้อง และลดข้อผิดพลาดต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นจาก ระบบ manual
     แนวทางที่ 3 จ้างนักพัฒนาระบบมาพัฒนาระบบที่เหมาะสมกับร้านจำหน่ายหนังสือ
2.3.1 ความเหมาะสมทางด้านเทคโนโลยี (Technically Feasible)
     แนวทางที่ 1 ปัจจัยต่าง ๆ ด้านเทคโนโลยีมีพร้อมที่จะดำเนินงานตามแนวทางที่เสนอ
     แนวทางที่ 2 ปัจจัยต่าง ๆ ด้านเทคโนโลยีมีพร้อมที่จะดำเนินงานตามแนวทางที่เสนอ
     แนวทางที่ 3 ปัจจัยต่าง ๆ ด้านเทคโนโลยีมีพร้อมที่จะดำเนินงานตามแนวทางที่เสนอ
2.3.2 ความเหมาะสมทางด้านการปฏิบัติ (Operational Feasibility)
     แนวทางที่ 1 สามารถจัดหาซื้อโปรแกรมประยุกต์ D-Book ได้ง่ายเพียงติดต่อสั่งซื้อทางอินเตอร์เน็ท ส่วนอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์อื่นสามารถหาซื้อได้ตามศูนย์จำหน่ายอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
     แนวทางที่ 2 สามารถทำได้โดยสมาชิกขององค์กรมีควาวมรู้ทางด้านการพัฒนาระบบโดยใช้โปรแกรม Microsoft Visual Basic 2006 และระบบฐานข้อมูลของโปรแกรม Microsoft Office Access 2003 ส่วนอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์อื่นสามารถหาซื้อได้ตามศูนย์จำหน่ายอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
     แนวทางที่ 3 สามารถติดต่อผู้ออกแบบและพัฒนาระบบต่าง ๆ ได้จากทางอินเตอร์เน็ทหรือทางโทรศัพท์
2.3.3 ความเหมาะสมทางด้านการลงทุน (Economic Feasibility)ประมาณต้นทุนกำไร
ตารางที่ 2.1 ประมาณต้นทุนกำไร
ตารางที่ 2.2 ประมาณค่าใช้จ่ายเนื้อหาสำหรับแนวทางต่าง ๆ
ตารางที่ 2.3 วิเคราะห์มูลค่าปัจจุบันของแนวทางที่ 1
ตารางที่ 2.4 วิเคราะห์มูลค่าปัจจุบันของแนวทางที่ 2
ตารางที่ 2.5 วิเคราะห์มูลค่าปัจจุบันของแนวทางที่ 3
2.3.4 วิเคราะห์ระยะเวลาในการคืนทุน
     แนวทางที่ 1 ระยะเวลาคืนทุนปีที่ 5
     แนวทางที่ 2 ระยะเวลาคืนทุนปีที่ 4
     แนวทางที่ 3 ระยะเวลาคืนทุนปีที่ 5
2.4 เลือกแนวทางที่เหมาะสมที่สุด
     เนื่องจากแนวทางที่ 2 แบบเป็นแนวทางที่เหมาะสมทั้งในด้านเทคโนโลยี ด้านการปฏิบัติ และด้านการลงทุน รวมถึงระยะเวลาในการคืนทุนที่เร็วกว่าแนวทางที่ 1 และ 3 ส่วนแนวทางที่ 1 มีข้อจำกัดในด้านราคาของโปรแกรมประยุกต์ D-Book ซึ่งมีราคาที่สูงมากและมีระยะเวลาคืนทุนที่ช้ากว่าแนวทางที่ 2 ส่วนแนวทางที่ 3 มีข้อจำกัดในด้านต้นทุนในการจ้างนักพัฒนาระบบซึ่งสูงมากกว่าแนวทางที่ 1 และ 2 แม้จะมีกำไรสุทธิสูงกว่าแนวทางอื่นแต่ระยะเวลาคืนทุนของแนวทางที่ 3 ช้ากว่าแนวทางที่ 2
23 มิถุนายน 2551
16 มิถุนายน 2551
บทที่ 1 การออกแบบระบบร้านขายหนังสือ
1. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
     ในปัจจุบันคอมพิวเตอร์ได้เข้ามามีบทบาทขึ้นในชีวิตประจำวัน ถูกใช้งานในรูปแบบที่หลากหลายมากขึ้นทั้งการคิดคำนวณตัวเลข การเก็บข้อมูล การนำเสนอข้อมูล และเป็นคลังข้อมูล ทำให้ข้อมูลนำถูกนำไปใช้งานอย่างเหมาะสมตรงตามความต้องการ
     การใช้ข้อมูลจากการที่เราเก็บรวบรวมนั้นจำเป็นจะต้องมีการออกแบบและพัฒนาข้อมูลให้ข้อมูลนั้นมีความสะดวก รวดเร็วและทันสมัยอยู่เสมอ ง่ายต่อการใช้งาน ปละลดความยุ่งยากซ้ำซ้อนอีกทั้งการเก็บข้อมูลโดยคอมพิวเตอร์ก็จะลดปริมาณกระดาษจำนวนมากเป็นส่วนช่วยในการลดโลกร้อนได้อีกด้วย การออกแบบและพัฒนาระบบของการจำหน่ายหนังสือในครั้งนี้เพื่อทำให้ มีคลังข้อมูลที่เป็นระเบียบ มีการตัดยอดการซื้อขายในทันที(หรือแบบ Real-Time)ซึ่งจะทำให้ไม่สับสนในภายหลัง
     คณะผู้จัดทำหวังว่า การออกแบบและพัฒนาระบบของการจำหน่ายหนังสือในครั้งนี้จะเป็นประโยชน์แอละสามารถนำระบบที่ออกแบบและพัฒนาไปใช้ได้จริงอย่างเหมาะสมในทุกสถานการณ์
2. วัตถุประสงค์
     - เพื่อพัฒนาระบบการขายหน้าร้านโดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์
     - เพื่อลดปัญหาการซื้อขายหน้าร้านและความซับซ้อน
     - เพิ่มความสะดวกรวดเร็วในการให้บริการของพนักงานที่มีต่อลูกค้า
     - เพื่อเพิ่มความรวดเร็วและความถูกแม่นยำในการเช็คยอดสินค้า
     - เพื่อความเป็นระบบในการเช็ครับสินค้าและตรวจสอบบัญชีได้ง่าย
3. ขอบเขตของระบบ
     - ฐานข้อมูลของหนังสือ
     - การซื้อ-ขายหนังสือ
     - รายงานหนังสือคงเหลือ
     - รายงานยอดขายในแต่ละวัน, เดือน, ปี
     - รายงานกำไรขาดทุน
4. ขั้นตอนการดำเนินงาน
5. ประโยชน์ที่จะได้รับ
     - สามารถนำระบบของร้านจำหน่ายหนังสือไปใช้ได้จริง
     ในปัจจุบันคอมพิวเตอร์ได้เข้ามามีบทบาทขึ้นในชีวิตประจำวัน ถูกใช้งานในรูปแบบที่หลากหลายมากขึ้นทั้งการคิดคำนวณตัวเลข การเก็บข้อมูล การนำเสนอข้อมูล และเป็นคลังข้อมูล ทำให้ข้อมูลนำถูกนำไปใช้งานอย่างเหมาะสมตรงตามความต้องการ
     การใช้ข้อมูลจากการที่เราเก็บรวบรวมนั้นจำเป็นจะต้องมีการออกแบบและพัฒนาข้อมูลให้ข้อมูลนั้นมีความสะดวก รวดเร็วและทันสมัยอยู่เสมอ ง่ายต่อการใช้งาน ปละลดความยุ่งยากซ้ำซ้อนอีกทั้งการเก็บข้อมูลโดยคอมพิวเตอร์ก็จะลดปริมาณกระดาษจำนวนมากเป็นส่วนช่วยในการลดโลกร้อนได้อีกด้วย การออกแบบและพัฒนาระบบของการจำหน่ายหนังสือในครั้งนี้เพื่อทำให้ มีคลังข้อมูลที่เป็นระเบียบ มีการตัดยอดการซื้อขายในทันที(หรือแบบ Real-Time)ซึ่งจะทำให้ไม่สับสนในภายหลัง
     คณะผู้จัดทำหวังว่า การออกแบบและพัฒนาระบบของการจำหน่ายหนังสือในครั้งนี้จะเป็นประโยชน์แอละสามารถนำระบบที่ออกแบบและพัฒนาไปใช้ได้จริงอย่างเหมาะสมในทุกสถานการณ์
2. วัตถุประสงค์
     - เพื่อพัฒนาระบบการขายหน้าร้านโดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์
     - เพื่อลดปัญหาการซื้อขายหน้าร้านและความซับซ้อน
     - เพิ่มความสะดวกรวดเร็วในการให้บริการของพนักงานที่มีต่อลูกค้า
     - เพื่อเพิ่มความรวดเร็วและความถูกแม่นยำในการเช็คยอดสินค้า
     - เพื่อความเป็นระบบในการเช็ครับสินค้าและตรวจสอบบัญชีได้ง่าย
3. ขอบเขตของระบบ
     - ฐานข้อมูลของหนังสือ
     - การซื้อ-ขายหนังสือ
     - รายงานหนังสือคงเหลือ
     - รายงานยอดขายในแต่ละวัน, เดือน, ปี
     - รายงานกำไรขาดทุน
4. ขั้นตอนการดำเนินงาน
5. ประโยชน์ที่จะได้รับ
     - สามารถนำระบบของร้านจำหน่ายหนังสือไปใช้ได้จริง
10 มิถุนายน 2551
รายชื่อกลุ่ม5
นายวีระพันธ์ อำรุงสกุลรัฐ รหัสประจำตัวนักศึกษา 4924207001
นายกานต์ วิวัฒน์วานิชกุล รหัสประจำตัวนักศึกษา 4924207003
นายภัทชระ ไกรวิชัย รหัสประจำตัวนักศึกษา 4924207005
นายเอกชัย ไกรนรา รหัสประจำตัวนักศึกษา 4924207013
นายกานต์ วิวัฒน์วานิชกุล รหัสประจำตัวนักศึกษา 4924207003
นายภัทชระ ไกรวิชัย รหัสประจำตัวนักศึกษา 4924207005
นายเอกชัย ไกรนรา รหัสประจำตัวนักศึกษา 4924207013
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)